วันพุธที่ 16 กันยายน พ.ศ. 2558

บันทึกการเรียนรู้ครั้งที่3  

แนวคิดนักการศึกษาที่เกี่ยวข้องกับ  การพัฒนาภาษาของเด็กปฐมวัย
อาจารย์สอนเรื่องแนวคิดของกลุ่มพฤติกรรมนิยมทฤษฎีการเรียนรู้ของ Skinner
• สิ่งแวดล้อมมีอิทธิพลต่อพัฒนาการทางภาษา

• ให้ความสำคัญกับสิ่งเร้าและการตอบสนอง
-
John B. Watson
• ทฤษฎีการวางเงื่อนไขแบบคลาสสิก
• การวางเงื่อนไขพฤติกรรมของเด็ก เป็นสิ่งที่สามารถกระทำได้ และผู้ใหญ่สามารถที่จะวางเงื่อนไขให้เด็กเกิดพฤติกรรมที่พึงประสงค์ได้ทุกพฤติกรรม  นักพฤติกรรมนิยมเชื่อว่า 
• ภาษาเป็นกระบวนการภายในของมนุษย์
 การเรียนภาษาเป็นผลจากการปรับพฤติกรรมโดยสิ่งแวดล้อม 
• เด็กเกิดมาโดยมีศักยภาพในการเรียนรู้ภาษา
• เด็กจะสังเกตและเลียนแบบพฤติกรรม เมื่อมีปฏิสัมพันธ์กับบุคคลรอบตัว 
เ มื่อได้รับแรงเสริมจะทำให้เด็กเลียนแบบตัวแบบมากขึ้น
2. แนวคิดกลุ่มพัฒนาการทางสติปัญญา Vygotsky 
• เด็กเรียนรู้จากการมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อม• สังคม บุคคลรอบข้าง มีผลต่อการเรียนรู้ภาษาของเด็ก
• เน้นบทบาทของผู้ใหญ่
• ผู้ใหญ่ควรช่วยชี้แนะและขยายประสบการณ์ด้านภาษาของเด็ก
ทฤษฎีพัฒนาการทางสติปัญญาของ  Piaget
• การที่เด็กมีปฏิสัมพันธ์กับสิ่งแวดล้อมเป็นปัจจัยสำคัญในพัฒนาการทางด้านภาษาและสติปัญญา• กระบวนการเรียนรู้ประกอบด้วย 2
กระบวนการเรียนรู้มี 2 กระบวนการ
1.การดูดซึม (Assimilation)
2.การปรับความเข้าใจเดิมให้เข้ากับสิ่งแวดล้อมใหม่(Accommodation)
-เมื่อเกิดการดูดซึมและการปรับความเข้าใจ
จะเกิดความสมดุล (Equilibrium)
-กลายเป็นความคิดรวบยอดในสมอง
3. แนวคิดของกลุ่มที่เชื่อเรื่องความพร้อมทางร่างกาย  Arnold Gesell
 เน้นความพร้อมทางด้านร่างกายในการใช้ภาษาความพร้อม วุฒิภาวะของเด็กแต่ละคนไม่เท่ากันเด็กบางคนอาจมีความพร้อมทางร่างกายในการใช้ภาษาได้เร็วเด็กบางคนอาจมีปัญหาอวัยวะบางส่วนที่ใช้ภาษาในการสื่อสารบกพร่องNoam Chomskyภาษาเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในตัวมนุษย์การเรียนรู้ภาษาขึ้นอยู่กับวุฒิภาวะมนุษย์เกิดมาโดยมีศักยภาพในการเรียนรู้ภาษามาตั้งแต่เกิด เรียกว่า LAD (Language Acquisition Device)
ภาษาเป็นกระบวนการที่เกิดขึ้นภายในตัวมนุษย์การเรียนรู้ภาษาขึ้นอยู่กับวุฒิภาวะมนุษย์เกิดมาโดยมีศักยภาพในการเรียนรู้ภาษามาตั้งแต่เกิด เรียกว่า LAD (Language Acquisition Device)
แนวคิดของ O. Hobart Mowrerคิดค้นทฤษฎีความพึงพอใจจิตวิทยาการเรียนรู้1.ความพร้อม ความสามารถ และประสบการณ์เดิมของเด็ก
2.ความแตกต่างระหว่างบุคคล
อิทธิพลทางพันธุกรรม    อิทธิพลจากสิ่งแวดล้อม
3.การจำการเห็นบ่อยๆการทบทวนเป็นระยะการจัดเป็นหมวดหมู่การใช้คำสัมผัส
4.การให้แรงเสริม แรงเสริมทางบวก แรงเสริมทางลบ
- สอนเพลงเก็บเด็กเวลาเด็กคุยกัน
เส้นหมี่ๆๆ
ซาลาเปาๆ
หมูสับๆ
ข้าวต้มมัด ฮึบ!
-เพิ่มเพลงให้อีก5  เพลง
-อาจารย์สอนทำนิทานโดยให้เด็กเป็นคนเล่าเรื่องและคอยเขียนตามที่เด็กเล่านิทานโดยตัวอักษรหัวกลมตัวเหลี่ยม
- ถ่องคำที่มี ตัวอักษรซ้ำๆกันหลายตัว














การนำความรู้ไปประยุกต์ใช้
ได้เรียนรู้ทฤษฎีเกี่ยวกับพฤติกรรมนิยม Skinner  ,John B. Watson
แนวคิดกลุ่มพัฒนาการทางสติปัญญา Vygotsky , Piaget
 แนวคิดของกลุ่มที่เชื่อเรื่องความพร้อมทางร่างกาย  Arnold Gesell ,Noam Chomsky , O. Hobart Mowrer
จิตวิทยาการเรียนรู้1.ความพร้อม ความสามารถ และประสบการณ์เดิมของเด็ก
2.ความแตกต่างระหว่างบุคคล
อิทธิพลทางพันธุกรรม    อิทธิพลจากสิ่งแวดล้อม
3.การจำการเห็นบ่อยๆการทบทวนเป็นระยะการจัดเป็นหมวดหมู่การใช้คำสัมผัส4.การให้แรงเสริมแรงเสริมทางบวกแรงเสริมทางลบ
เพื่อนำไปประยุกต์ใช้ในการสอนและศึกษาพฤติกรรมของเด็กปฐมวัยต่อไป
ประเมิน
ตนเอง ตั้งใจเรียนดี  เรียนรู้การเข้ากิจกรรมกับรุ่นน้อง  ออกความคิดเห็นในการวาดภาพนิทาน  และช่วยตกแต่งนิทานให้สวยงาม
เพื่อน ตั้งใจเรียน  ให้ความร่วมมมือในการทำกิจกรรมต่างๆ
อาจารย์  สอนเนื่้อหา  เข้าใจง่าย  กระชับ และมีกิจกรรมมาให้เล่นเสมอแถมยังแจกขนมให้เรากินในคาบเรียนอีก  

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น